Welcome to Q4wahabi.com (Question for Wahabi). Please login or sign up.

มีนาคม 28, 2024, 08:22:06 หลังเที่ยง

Login with username, password and session length
สมาชิก
Stats
  • กระทู้ทั้งหมด: 2,519
  • หัวข้อทั้งหมด: 647
  • Online today: 70
  • Online ever: 70
  • (วันนี้ เวลา 08:04:24 หลังเที่ยง)
ผู้ใช้ออนไลน์
Users: 0
Guests: 65
Total: 65

ท่านหญิงอาอิชะฮ์ ให้ชาย ดื่มนม อย่างไร

เริ่มโดย L-umar, กรกฎาคม 03, 2009, 05:52:03 หลังเที่ยง

หัวข้อก่อนหน้า - หัวข้อถัดไป

0 สมาชิก และ 1 ผู้มาเยือน กำลังดูหัวข้อนี้

L-umar



ท่านหญิงอาอิชะฮ์ ให้ชาย ดื่มนม อย่างไร




เราพบ  หนังสือเศาะหิ๊หฺมุสลิม  บันทึกเรื่อง  การให้นมกับชายที่บรรลุศาสนภาวะแล้ว


นักวิชาการซุนนี่อธิบายว่า  การให้นมแก่ผู้ชาย  ในที่นี้หมายถึง การที่สตรีรีดน้ำนมของนางแล้วใส่ภาชนะ จากนั้นก็ส่งมันให้ผู้ชายดื่มมัน  ทำซ้ำเช่นนั้นห้าครั้ง จากนั้นแม่นมกับชายคนนั้นก็จะไม่หะร่ามอีกต่อไปที่จะไปมาหาสู่กัน แม้นางจะอยู่เพียงลำพังคนเดียวกับชายคนนั้นก้ตาม    


3673 –
عَنْ عَائِشَةَ قَالَتْ جَاءَتْ سَهْلَةُ بِنْتُ سُهَيْلٍ إِلَى النَّبِىِّ -صلى الله عليه وسلم- فَقَالَتْ يَا رَسُولَ اللَّهِ إِنِّى أَرَى فِى وَجْهِ أَبِى حُذَيْفَةَ مِنْ دُخُولِ سَالِمٍ - وَهُوَ حَلِيفُهُ. فَقَالَ النَّبِىُّ -صلى الله عليه وسلم- « أَرْضِعِيهِ ». قَالَتْ وَكَيْفَ أُرْضِعُهُ وَهُوَ رَجُلٌ كَبِيرٌ فَتَبَسَّمَ رَسُولُ اللَّهِ -صلى الله عليه وسلم- وَقَالَ « قَدْ عَلِمْتُ أَنَّهُ رَجُلٌ كَبِيرٌ ».

زَادَ عَمْرٌو فِى حَدِيثِهِ وَكَانَ قَدْ شَهِدَ بَدْرًا. وَفِى رِوَايَةِ ابْنِ أَبِى عُمَرَ فَضَحِكَ رَسُولُ اللَّهِ -صلى الله عليه وسلم-.

ท่านหญิงอาอิชะฮ์เล่าว่า   นางสะฮ์ละฮ์ บินติสุฮัยลฺได้มาหาท่านนบี(ศ)   นางกล่าวว่า  โอ้ท่านรอซูลุลเลาะฮ์  แท้จริงฉันเห็นในใบหน้าของอบีฮุซัยฟะฮ์  จากการเข้ามาหาของซาลิม เพราะเขาคือคู่หูกัน  
ท่านนบี(ศ)กล่าวว่า  " เธอจงให้นมเขาสิ "   นางกล่าวว่า  จะให้ฉันให้เขาดื่มนมได้อย่างไร ในขณะที่เขาเป็นผู้ใหญ่แล้ว     ท่านรอซูลุลเลาะฮ์(ศ)ยิ้ม และกล่าวว่า   ฉันรู้ดีว่า   เขาเป็นผู้ใหญ่แล้ว  

3674 –
عَنْ عَائِشَةَ أَنَّ سَالِمًا مَوْلَى أَبِى حُذَيْفَةَ كَانَ مَعَ أَبِى حُذَيْفَةَ وَأَهْلِهِ فِى بَيْتِهِمْ فَأَتَتْ – تَعْنِى ابْنَةَ سُهَيْلٍ – النَّبِىَّ –صلى الله عليه وسلم- فَقَالَتْ إِنَّ سَالِمًا قَدْ بَلَغَ مَا يَبْلُغُ الرِّجَالُ وَعَقَلَ مَا عَقَلُوا وَإِنَّهُ يَدْخُلُ عَلَيْنَا وَإِنِّى أَظُنُّ أَنَّ فِى نَفْسِ أَبِى حُذَيْفَةَ مِنْ ذَلِكَ شَيْئًا. فَقَالَ لَهَا النَّبِىُّ –صلى الله عليه وسلم- « أَرْضِعِيهِ تَحْرُمِى عَلَيْهِ وَيَذْهَبِ الَّذِى فِى نَفْسِ أَبِى حُذَيْفَةَ ». فَرَجَعَتْ فَقَالَتْ إِنِّى قَدْ أَرْضَعْتُهُ فَذَهَبَ الَّذِى فِى نَفْسِ أَبِى حُذَيْفَةَ.

3675 –
أَنَّ عَائِشَةَ أَخْبَرَتْهُ أَنَّ سَهْلَةَ بِنْتَ سُهَيْلِ بْنِ عَمْرٍو جَاءَتِ النَّبِىَّ –صلى الله عليه وسلم- فَقَالَتْ يَا رَسُولَ اللَّهِ إِنَّ سَالِمًا – لِسَالِمٍ مَوْلَى أَبِى حُذَيْفَةَ – مَعَنَا فِى بَيْتِنَا وَقَدْ بَلَغَ مَا يَبْلُغُ الرِّجَالُ وَعَلِمَ مَا يَعْلَمُ الرِّجَالُ. قَالَ « أَرْضِعِيهِ تَحْرُمِى عَلَيْهِ ». قَالَ فَمَكَثْتُ سَنَةً أَوْ قَرِيبًا مِنْهَا لاَ أُحَدِّثُ بِهِ وَهِبْتُهُ ثُمَّ لَقِيتُ الْقَاسِمَ فَقُلْتُ لَهُ لَقَدْ حَدَّثْتَنِى حَدِيثًا مَا حَدَّثْتُهُ بَعْدُ. قَالَ فَمَا هُوَ فَأَخْبَرْتُهُ. قَالَ فَحَدِّثْهُ عَنِّى أَنَّ عَائِشَةَ أَخْبَرَتْنِيهِ.


3676 –
عَنْ زَيْنَبَ بِنْتِ أُمِّ سَلَمَةَ قَالَتْ قَالَتْ أُمُّ سَلَمَةَ لِعَائِشَةَ إِنَّهُ يَدْخُلُ عَلَيْكِ الْغُلاَمُ الأَيْفَعُ الَّذِى مَا أُحِبُّ أَنْ يَدْخُلَ عَلَىَّ. قَالَ فَقَالَتْ عَائِشَةُ أَمَا لَكِ فِى رَسُولِ اللَّهِ –صلى الله عليه وسلم- أُسْوَةٌ قَالَتْ إِنَّ امْرَأَةَ أَبِى حُذَيْفَةَ قَالَتْ يَا رَسُولَ اللَّهِ إِنَّ سَالِمًا يَدْخُلُ عَلَىَّ وَهُوَ رَجُلٌ وَفِى نَفْسِ أَبِى حُذَيْفَةَ مِنْهُ شَىْءٌ. فَقَالَ رَسُولُ اللَّهِ –صلى الله عليه وسلم- « أَرْضِعِيهِ حَتَّى يَدْخُلَ عَلَيْكِ ».

ซัยนับ บินติ อุมมุ สะละมะฮ์เล่าว่า   ท่านหญิงอุมมุสะละมะฮ์ กล่าวกับท่านหญิงอาอิชะฮ์ว่า  แท้จริงมีเด็กหนุ่มเข้ามาหาเธอ  ซึ่งฉันไม่ชอบที่เขาจะเข้ามาหาฉัน
ท่านหญิงอาอิชะฮ์กล่าวว่า  ทำไมท่านรู้แบบอย่างในตัวของท่านรอซูลุลเลาะฮ์เลยหรือ ?  นางกล่าวว่า  แท้จริงภรรยาของอบีฮุซัยฟะฮ์ นางกล่าวว่า  โอ้ท่านรอซูลุลเลาะฮ์   แท้จริงซาลิมจะเข้ามาหาฉัน ซึ่งเขาก็เป็นหนุ่มแล้ว และในตัวของอบีฮุฟัยะฮ์นั้นมีสิ่งหนึ่งจากเขา
ท่านรอซูลุลเลาะฮ์ได้กล่าวว่า  เธอจงให้เขาดื่มนม  เพื่อเขาจะได้เข้ามาหาเธอได้

3677 –
زَيْنَبَ بِنْتَ أَبِى سَلَمَةَ تَقُولُ سَمِعْتُ أُمَّ سَلَمَةَ زَوْجَ النَّبِىِّ -صلى الله عليه وسلم- تَقُولُ لِعَائِشَةَ وَاللَّهِ مَا تَطِيبُ نَفْسِى أَنْ يَرَانِى الْغُلاَمُ قَدِ اسْتَغْنَى عَنِ الرَّضَاعَةِ. فَقَالَتْ لِمَ قَدْ جَاءَتْ سَهْلَةُ بِنْتُ سُهَيْلٍ إِلَى رَسُولِ اللَّهِ -صلى الله عليه وسلم- فَقَالَتْ يَا رَسُولَ اللَّهِ وَاللَّهِ إِنِّى لأَرَى فِى وَجْهِ أَبِى حُذَيْفَةَ مِنْ دُخُولِ سَالِمٍ. قَالَتْ فَقَالَ رَسُولُ اللَّهِ -صلى الله عليه وسلم- « أَرْضِعِيهِ ». فَقَالَتْ إِنَّهُ ذُو لِحْيَةٍ. فَقَالَ « أَرْضِعِيهِ يَذْهَبْ مَا فِى وَجْهِ أَبِى حُذَيْفَةَ ». فَقَالَتْ وَاللَّهِ مَا عَرَفْتُهُ فِى وَجْهِ أَبِى حُذَيْفَةَ.




เรายังพบหะดีษทำนองนี้ในหนังสืออัลมุวัตเตาะฮ์ ของท่านอิหม่ามมาลิก


1287 - حَدَّثَنِى يَحْيَى عَنْ مَالِكٍ عَنِ ابْنِ شِهَابٍ أَنَّهُ سُئِلَ عَنْ رَضَاعَةِ الْكَبِيرِ فَقَالَ أَخْبَرَنِى عُرْوَةُ بْنُ الزُّبَيْرِ أَنَّ أَبَا حُذَيْفَةَ بْنَ عُتْبَةَ بْنِ رَبِيعَةَ وَكَانَ مِنْ أَصْحَابِ رَسُولِ اللَّهِ -صلى الله عليه وسلم- وَكَانَ قَدْ شَهِدَ بَدْرًا وَكَانَ تَبَنَّى سَالِمًا الَّذِى يُقَالُ لَهُ سَالِمٌ مَوْلَى أَبِى حُذَيْفَةَ كَمَا تَبَنَّى رَسُولُ اللَّهِ -صلى الله عليه وسلم- زَيْدَ بْنَ حَارِثَةَ وَأَنْكَحَ أَبُو حُذَيْفَةَ سَالِمًا وَهُوَ يَرَى أَنَّهُ ابْنُهُ أَنْكَحَهُ بِنْتَ أَخِيهِ فَاطِمَةَ بِنْتَ الْوَلِيدِ بْنِ عُتْبَةَ بْنِ رَبِيعَةَ وَهِىَ يَوْمَئِذٍ مِنَ الْمُهَاجِرَاتِ الأُوَلِ وَهِىَ مِنْ أَفْضَلِ أَيَامَى قُرَيْشٍ فَلَمَّا أَنْزَلَ اللَّهُ تَعَالَى فِى كِتَابِهِ فِى زَيْدِ بْنِ حَارِثَةَ مَا أَنْزَلَ فَقَالَ ( ادْعُوهُمْ لآبَائِهِمْ هُوَ أَقْسَطُ عِنْدَ اللَّهِ فَإِنْ لَمْ تَعْلَمُوا آبَاءَهُمْ فَإِخْوَانُكُمْ فِى الدِّينِ وَمَوَالِيكُمْ) رُدَّ كُلُّ وَاحِدٍ مِنْ أُولَئِكَ إِلَى أَبِيهِ فَإِنْ لَمْ يُعْلَمْ أَبُوهُ رُدَّ إِلَى مَوْلاَهُ فَجَاءَتْ سَهْلَةُ بِنْتُ سُهَيْلٍ وَهِىَ امْرَأَةُ أَبِى حُذَيْفَةَ وَهِىَ مِنْ بَنِى عَامِرِ بْنِ لُؤَىٍّ إِلَى رَسُولِ اللَّهِ -صلى الله عليه وسلم- فَقَالَتْ يَا رَسُولَ اللَّهِ كُنَّا نَرَى سَالِمًا وَلَدًا وَكَانَ يَدْخُلُ عَلَىَّ وَأَنَا فُضُلٌ وَلَيْسَ لَنَا إِلاَّ بَيْتٌ وَاحِدٌ فَمَاذَا تَرَى فِى شَأْنِهِ فَقَالَ لَهَا رَسُولُ اللَّهِ -صلى الله عليه وسلم- « أَرْضِعِيهِ خَمْسَ رَضَعَاتٍ فَيَحْرُمُ بِلَبَنِهَا ». وَكَانَتْ تَرَاهُ ابْنًا مِنَ الرَّضَاعَةِ

 فَأَخَذَتْ بِذَلِكَ عَائِشَةُ أُمُّ الْمُؤْمِنِينَ فِيمَنْ كَانَتْ تُحِبُّ أَنْ يَدْخُلَ عَلَيْهَا مِنَ الرِّجَالِ
 แล้วท่านหญิงอาอิชะฮ์ได้ยึดสิ่งนั้น(คือการให้นมกับชายด้วยวิธีเดียวกับนางสะฮ์ละฮ์) ในบุคคลที่นางรักชอบที่จะให้เข้ามาหานางจากบรรดาชาย
فَكَانَتْ تَأْمُرُ أُخْتَهَا أُمَّ كُلْثُومٍ بِنْتَ أَبِى بَكْرٍ الصِّدِّيقِ وَبَنَاتِ أَخِيهَا أَنْ يُرْضِعْنَ مَنْ أَحَبَّتْ أَنْ يَدْخُلَ عَلَيْهَا مِنَ الرِّجَالِ وَأَبَى سَائِرُ أَزْوَاجِ النَّبِىِّ -صلى الله عليه وسلم- أَنْ يَدْخُلَ عَلَيْهِنَّ بِتِلْكَ الرَّضَاعَةِ أَحَدٌ مِنَ النَّاسِ وَقُلْنَ لاَ وَاللَّهِ مَا نَرَى الَّذِى أَمَرَ بِهِ رَسُولُ اللَّهِ -صلى الله عليه وسلم- سَهْلَةَ بِنْتَ سُهَيْلٍ إِلاَّ رُخْصَةً مِنْ رَسُولِ اللَّهِ -صلى الله عليه وسلم- فِى رَضَاعَةِ سَالِمٍ وَحْدَهُ لاَ وَاللَّهِ لاَ يَدْخُلُ عَلَيْنَا بِهَذِهِ الرَّضَاعَةِ أَحَدٌ فَعَلَى هَذَا كَانَ أَزْوَاجُ النَّبِىِّ -صلى الله عليه وسلم- فِى رَضَاعَةِ الْكَبِيرِ.



และในหนังสือ มุสนัดอิหม่ามอะหมัด


25125 - حَدَّثَنَا يَعْقُوبُ قَالَ حَدَّثَنَا ابْنُ أَخِي ابْنِ شِهَابٍ عَنْ عَمِّهِ قَالَ أَخْبَرَنِي عُرْوَةُ بْنُ الزُّبَيْرِ عَنْ عَائِشَةَ قَالَتْ
أَتَتْ سَهْلَةُ بِنْتُ سُهَيْلِ بْنِ عَمْرٍو وَكَانَتْ تَحْتَ أَبِي حُذَيْفَةَ بْنِ عُتْبَةَ رَسُولَ اللَّهِ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ فَقَالَتْ إِنَّ سَالِمًا مَوْلَى أَبِي حُذَيْفَةَ يَدْخُلُ عَلَيْنَا وَإِنَّا فُضُلٌ وَإِنَّا كُنَّا نَرَاهُ وَلَدًا وَكَانَ أَبُو حُذَيْفَةَ تَبَنَّاهُ كَمَا تَبَنَّى رَسُولُ اللَّهِ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ زَيْدًا فَأَنْزَلَ اللَّهُ
{ ادْعُوهُمْ لِآبَائِهِمْ هُوَ أَقْسَطُ عِنْدَ اللَّهِ }
فَأَمَرَهَا رَسُولُ اللَّهِ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ عِنْدَ ذَلِكَ أَنْ تُرْضِعَ سَالِمًا فَأَرْضَعَتْهُ خَمْسَ رَضَعَاتٍ وَكَانَ بِمَنْزِلَةِ وَلَدِهَا مِنْ الرَّضَاعَةِ

فَبِذَلِكَ كَانَتْ عَائِشَةُ تَأْمُرُ أَخَوَاتِهَا وَبَنَاتِ أَخَوَاتِهَا أَنْ يُرْضِعْنَ مَنْ أَحَبَّتْ عَائِشَةُ أَنْ يَرَاهَا وَيَدْخُلَ عَلَيْهَا وَإِنْ كَانَ كَبِيرًا خَمْسَ رَضَعَاتٍ ثُمَّ يَدْخُلُ عَلَيْهَا

وَأَبَتْ أُمُّ سَلَمَةَ وَسَائِرُ أَزْوَاجِ النَّبِيِّ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ أَنْ يُدْخِلْنَ عَلَيْهِنَّ بِتِلْكَ الرَّضَاعَةِ أَحَدًا مِنْ النَّاسِ حَتَّى يَرْضَعَ فِي الْمَهْدِ وَقُلْنَ لِعَائِشَةَ وَاللَّهِ مَا نَدْرِي لَعَلَّهَا كَانَتْ رُخْصَةً مِنْ رَسُولِ اللَّهِ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ لِسَالِمٍ مِنْ دُونِ النَّاسِ

ด้วยเหตุนั้น ท่านหญิงอาอิชะฮ์จึงเคยสั่งพี่น้องหญิงของนาง ให้ทำการให้นมกับผู้ที่ท่านหญิงอาอิชะฮ์รักชอบที่จะเขาเห็นนางได้ และเข้ามาหานางได้ แม้ว่าเขาจะเป็นผู้ใหญ่ก็ตาม (ก็ให้เขาดื่ม)นมห้าครั้ง ต่อจากนั้นเขา(ชายคนนั้น)ก็จะเข้ามาหานางได้

แต่ท่านหญิงอุมมุสะละมะฮ์และบรรดาภรรยาของท่านนบี(ศ) ได้ปฏิเสธ ที่จะให้(พวกผู้ชาย)เข้ามาหาพวกนางด้วยวิธีการให้นมแบบนั้น  ไม่ว่าจะเป็นใครจากบรรดาผู้คน...





คำถามสำหรับซุนนี่


หนึ่ง- เป็นที่ทราบดีว่า   ท่านหญิงอาอิชะฮ์นั้น ไม่เคยตั้งครรภ์  และไม่เคยคลอดบุตร  เพราะฉะนั้นขอถามว่า   นางจะเอาน้ำนมจากไหน  มารีดใส่ภาชนะเอาไปให้ชายนอกบ้านดื่มกิน    ?

สอง –
หากสิ่งที่นางอาอิชะฮ์ทำถูก   ทำไมบรรดาภรรยาที่เหลือทั้งหมดของท่านนบี(ศ)จึงปฏิเสธการให้นมแบบนี้    ทั้งๆที่พวกนางบางคนเคยมีบุตรมาแล้ว  

เพราะฉะนั้นทำไมมติของภรรยาโดยส่วนมาก  จะไม่มีน้ำหนักมากกว่า หนึ่งคนหรือ  
  •  

sandee

L-umar อ้างอิงข้อความ:
อ้างถึง


3674 –
عَنْ عَائِشَةَ أَنَّ سَالِمًا مَوْلَى أَبِى حُذَيْفَةَ كَانَ مَعَ أَبِى حُذَيْفَةَ وَأَهْلِهِ فِى بَيْتِهِمْ فَأَتَتْ – تَعْنِى ابْنَةَ سُهَيْلٍ – النَّبِىَّ –صلى الله عليه وسلم- فَقَالَتْ إِنَّ سَالِمًا قَدْ بَلَغَ مَا يَبْلُغُ الرِّجَالُ وَعَقَلَ مَا عَقَلُوا وَإِنَّهُ يَدْخُلُ عَلَيْنَا وَإِنِّى أَظُنُّ أَنَّ فِى نَفْسِ أَبِى حُذَيْفَةَ مِنْ ذَلِكَ شَيْئًا. فَقَالَ لَهَا النَّبِىُّ –صلى الله عليه وسلم- « أَرْضِعِيهِ تَحْرُمِى عَلَيْهِ وَيَذْهَبِ الَّذِى فِى نَفْسِ أَبِى حُذَيْفَةَ ». فَرَجَعَتْ فَقَالَتْ إِنِّى قَدْ أَرْضَعْتُهُ فَذَهَبَ الَّذِى فِى نَفْسِ أَبِى حُذَيْفَةَ.


3676 –
عَنْ زَيْنَبَ بِنْتِ أُمِّ سَلَمَةَ قَالَتْ قَالَتْ أُمُّ سَلَمَةَ لِعَائِشَةَ إِنَّهُ يَدْخُلُ عَلَيْكِ الْغُلاَمُ الأَيْفَعُ الَّذِى مَا أُحِبُّ أَنْ يَدْخُلَ عَلَىَّ. قَالَ فَقَالَتْ عَائِشَةُ أَمَا لَكِ فِى رَسُولِ اللَّهِ –صلى الله عليه وسلم- أُسْوَةٌ قَالَتْ إِنَّ امْرَأَةَ أَبِى حُذَيْفَةَ قَالَتْ يَا رَسُولَ اللَّهِ إِنَّ سَالِمًا يَدْخُلُ عَلَىَّ وَهُوَ رَجُلٌ وَفِى نَفْسِ أَبِى حُذَيْفَةَ مِنْهُ شَىْءٌ. فَقَالَ رَسُولُ اللَّهِ –صلى الله عليه وسلم- « أَرْضِعِيهِ حَتَّى يَدْخُلَ عَلَيْكِ ».

ซัยนับ บินติ อุมมุ สะละมะฮ์เล่าว่า   ท่านหญิงอุมมุสะละมะฮ์ กล่าวกับท่านหญิงอาอิชะฮ์ว่า  แท้จริงมีเด็กหนุ่มเข้ามาหาเธอ  ซึ่งฉันไม่ชอบที่เขาจะเข้ามาหาฉัน
ท่านหญิงอาอิชะฮ์กล่าวว่า  ทำไมท่านรู้แบบอย่างในตัวของท่านรอซูลุลเลาะฮ์เลยหรือ ?  นางกล่าวว่า  แท้จริงภรรยาของอบีฮุซัยฟะฮ์ นางกล่าวว่า  โอ้ท่านรอซูลุลเลาะฮ์   แท้จริงซาลิมจะเข้ามาหาฉัน ซึ่งเขาก็เป็นหนุ่มแล้ว และในตัวของอบีฮุฟัยะฮ์นั้นมีสิ่งหนึ่งจากเขา
ท่านรอซูลุลเลาะฮ์ได้กล่าวว่า  เธอจงให้เขาดื่มนม  เพื่อเขาจะได้เข้ามาหาเธอได้



คำถามสำหรับซุนนี่


หนึ่ง- เป็นที่ทราบดีว่า   ท่านหญิงอาอิชะฮ์นั้น ไม่เคยตั้งครรภ์  และไม่เคยคลอดบุตร  เพราะฉะนั้นขอถามว่า   นางจะเอาน้ำนมจากไหน  มารีดใส่ภาชนะเอาไปให้ชายนอกบ้านดื่มกิน    ?

สอง –
หากสิ่งที่นางอาอิชะฮ์ทำถูก   ทำไมบรรดาภรรยาที่เหลือทั้งหมดของท่านนบี(ศ)จึงปฏิเสธการให้นมแบบนี้    ทั้งๆที่พวกนางบางคนเคยมีบุตรมาแล้ว  

เพราะฉะนั้นทำไมมติของภรรยาโดยส่วนมาก  จะไม่มีน้ำหนักมากกว่า หนึ่งคนหรือ  



ในเบื้องต้น ได้ทำการตรวจสอบหะดีษที่คุณได้เสนอมาแล้ว คือ หะดีษที่ 3674, 3676
ปรากฏพบว่ามีอยู่ในศอเฮียะห์มุสลิมจริง ซึ่งสามารถหาอ่านภาษาไทยได้ในหนังสือชื่อ
\\\"หะดีษเศาะฮิหฺ มุสลิม\\\" เล่ม 2  หน้าที่ 81 ส่วนที่ 6 การให้นมแก่ลูกที่โตแล้ว (1394)
และในหน้าที่ 82 อยู่ในหมวดส่วนเดียวกัน (1395)

ซึ่งมีคำแปลดังต่อไปนี้ ปรากฏอยู่ในหนังสือ

1394 (3674) –
عَنْ عَائِشَةَ أَنَّ سَالِمًا مَوْلَى أَبِى حُذَيْفَةَ كَانَ مَعَ أَبِى حُذَيْفَةَ وَأَهْلِهِ فِى بَيْتِهِمْ فَأَتَتْ – تَعْنِى ابْنَةَ سُهَيْلٍ – النَّبِىَّ –صلى الله عليه وسلم- فَقَالَتْ إِنَّ سَالِمًا قَدْ بَلَغَ مَا يَبْلُغُ الرِّجَالُ وَعَقَلَ مَا عَقَلُوا وَإِنَّهُ يَدْخُلُ عَلَيْنَا وَإِنِّى أَظُنُّ أَنَّ فِى نَفْسِ أَبِى حُذَيْفَةَ مِنْ ذَلِكَ شَيْئًا. فَقَالَ لَهَا النَّبِىُّ –صلى الله عليه وسلم- « أَرْضِعِيهِ تَحْرُمِى عَلَيْهِ وَيَذْهَبِ الَّذِى فِى نَفْسِ أَبِى حُذَيْفَةَ ». فَرَجَعَتْ فَقَالَتْ إِنِّى قَدْ أَرْضَعْتُهُ فَذَهَبَ الَّذِى فِى نَفْسِ أَبِى حُذَيْفَةَ.

(1394) จากอาอิชะฮฺเล่าว่า สาลิมผู้เป็นทาสของอบู หุซัยฟะฮฺยังคงพำนักอยู่กับครอบครัวอบู หุซัยฟะฮฺในบ้านของพวกเขาคือ หมายถึงบุตรสาวของสุฮัยลฺ (ทั้งๆ ที่สาลิมได้รับการปลดปล่อยให้เป็นอิสระแล้ว) ภรรยาของอบู หุซัยฟะฮฺ ได้มาหาท่านนบี (ซ.ล) เพื่อถามปัญหานี้ เธอกล่าวว่า สาลิมได้บรรลุศาสนภาวะและมีความคิดเป็นผู้ใหญ่เเล้ว แต่เขายังเข้าออกบ้านฉันเป็นปกติ ฉันเกรงว่า อบู หุซัยฟะฮฺจะคิดในทางเสียหาย ท่านนบี (ซ.ล.) กล่าวกับเธอว่า จงให้นมเขา (สาลิม) เพื่อให้เขาเป็นมะหฺริม อบู หุซัยฟะฮฺจะได้ไม่คิดในทางร้าย ต่อมาภรรยาของอบู หุซัยฟะฮฺจะได้มาหาท่านนบี (ซ.ล.) อีกและกล่าวว่า ฉันได้ให้นมแก่เขาและอบู หุซัยฟะฮฺก็เข้าใจเรื่องนี้(1)


1395 (3676) –
عَنْ زَيْنَبَ بِنْتِ أُمِّ سَلَمَةَ قَالَتْ قَالَتْ أُمُّ سَلَمَةَ لِعَائِشَةَ إِنَّهُ يَدْخُلُ عَلَيْكِ الْغُلاَمُ الأَيْفَعُ الَّذِى مَا أُحِبُّ أَنْ يَدْخُلَ عَلَىَّ. قَالَ فَقَالَتْ عَائِشَةُ أَمَا لَكِ فِى رَسُولِ اللَّهِ –صلى الله عليه وسلم- أُسْوَةٌ قَالَتْ إِنَّ امْرَأَةَ أَبِى حُذَيْفَةَ قَالَتْ يَا رَسُولَ اللَّهِ إِنَّ سَالِمًا يَدْخُلُ عَلَىَّ وَهُوَ رَجُلٌ وَفِى نَفْسِ أَبِى حُذَيْفَةَ مِنْهُ شَىْءٌ. فَقَالَ رَسُولُ اللَّهِ –صلى الله عليه وسلم- « أَرْضِعِيهِ حَتَّى يَدْخُلَ عَلَيْكِ ».

(1395) จากซัยนับ บินติ อุมมุสะละมะฮฺเล่าว่า อุมมุ สะละมะฮฺกล่าวกับอาอิชะฮฺว่า ทำไมเด็กผู้ชายที่บรรลุศาสนภาวะแล้วเข้าออกบ้านเธออย่างเสรีได้ละ เขาเล่าว่า อาอิชะฮฺ กล่าวว่า (ถ้าเป็นฉัน ฉันจะไม่สบายใจที่พวกเขาเข้าออกบ้านฉันเช่นนี้) อาอิชะฮฺ ตอบว่า ทำไมเธอจึงไม่ยึดแนวทางของท่านรสูล (ซ.ล) ละ อาอิชะฮฺกล่าวอีกว่า ความจริงภรรยาของอบู หุซัยฟะฮฺ (เคยร้องเรียนกับท่านรสูล (ซ.ล.) ว่า) โอ้-ท่านรสูล (ซ.ล) สาลิมเข้าออกบ้านของเธออย่างเสรี ทั้งๆ ที่สาลิมนั้นโตแล้ว จนเกรงกันว่าอบู หุซัยฟะฮฺจะคิดในทางเสียหาย ท่านรสูล (ซ.ล) จึงกล่าว (กับภรรยาของอบู หุซัยฟะฮฺ)ว่า  จงให้นมเขา(สาลิม) เพื่อให้เขาเป็นเครือญาติของเธอ


หมายเหตุที่ปรากฏ :
(1) การให้นมแก่เด็กที่โตแล้วโดยปกติมี 2 วิธี
  - 1.การรีดนมใส่ภาชนะแล้วให้ดื่ม
  - 2.การให้ดื่มนมอย่างทารก
จากหะดีษข้างต้นอาจสรุปได้ดังนี้
  1.การเป็นเครือญาติทางสายน้ำนมโดยให้เด็กที่โตแล้วดื่มนมใช้บทบัญญัติเดียวกันกับการให้ทารกดื่มนม
  2.นักวิชาการส่วนใหญ่เห็นว่า รายละเอียดที่ปรากฏในหะดีษนี้กำหนดเฉพาะแก่สาลิมเท่านั้น มิใช่บทบัญญัติแก่คนทั่วไป
  3.ที่เห็นว่าการอนุญาตให้เด็กโตดื่มนมนั้นมีแต่อาอิชะฮฺเท่านั้น ส่วนภรรยาอื่นๆ ของท่านนบี (ซ.ล) ไม่เห็นด้วย (ดูซะเราะฮฺ นะวะวี เล่ม 3 หน้า 633)
--จบหมายเหตุ--



ดังนั้น สำหรับคำถามของคุณ
ข้อ 1.ดูเหมือนเป็นการบิดเบือนหะดีษนิดหน่อย ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว ท่านหญิงอาอิชะฮฺไม่ได้เป็นผู้ให้นมเอง
แต่เป็นภรรยาของอบู หุซัยฟะฮฺต่างหาก

ข้อ 2.หะดีษที่ปรากฏเป็นเพียงการบอกเล่าให้ฟังถึงทัศนะเท่านั้น ยังไม่มีการชี้ถูกหรือชี้ผิด การที่คุณใช้คำว่า
\\\"หากสิ่งที่นางอาอิชะฮ์ทำถูก\\\" ก็ดูจะเป็นการรีบฟันธงเพื่อหาข้อตำหนิท่านหญิงอาอิชะฮฺเร็วไปหน่อย ในข้อประเด็น
ทางด้านฟิกฮฺ ที่มีข้อคิลาฟียะฮฺเป็นเรื่องธรรมดาอยู่แล้ว

ส่วนที่คุณบอกว่า \\\"เพราะฉะนั้นทำไมมติของภรรยาโดยส่วนมาก  จะไม่มีน้ำหนักมากกว่า หนึ่งคนหรือ\\\"
จะมีน้ำหนักหรือไม่ ก็ต้องไปเปรียบเทียบกับอัลกุรอ่าน และหะดีษของท่านนบี (ซ.ล) เป็นหลัก
อิสลามไม่ได้เป็นลัทธิประชาธิปไตย ที่จะให้เสียงส่วนมากเป็นฝ่ายถูก ส่วนในเรื่องการให้นมบุตรนี้
ใครจะเป็นฝ่ายถูก ก็วัลลอฮูอลัม และเป็นสิ่งเฉพาะของสาลิม (โปรดดูหมายเหตุ) การรีบสรรหาหะดีษ
มาเพื่อตำหนิมารดาของผู้ศรัทธานั้น เป็นสิ่งที่ผู้ศรัทธาไม่ทำกัน





Thai: [33:6]นบีนั้นเป็นผู้ใกล้ชิดกับบรรดาผู้ศรัทธายิ่งกว่าตัวของพวกเขาเอง และบรรดาภริยาของเขา (นบี) คือมารดาของพวกเขาและเครือญาติร่วมสายโลหิต บางคนในหมู่พวกเขาใกล้ชิดกับอีกบางคนยิ่กว่าบรรดาผู้ศรัทธาและบรรดาผู้อพยพในบัญญติของอัลลอฮ์ เว้น แต่พวกเจ้าจะกระทำความดีแก่สหายสนิทของ พวกเจ้า นั่นได้มีบันทึกไว้แล้วในคัมภีร์
  •  

clazzic

อัสสลามมูอะลัยกุม

ผมอ่านแล้วไม่ค่อยเข้าใจ

ช่วยสรุปได้ไหมคับ

เอาแบบเข้าใจ

วัสสลาม / ดาฟิส
  •  

sandee

clazzic อ้างอิงข้อความ:
อ้างถึงอัสสลามมูอะลัยกุม

ผมอ่านแล้วไม่ค่อยเข้าใจ

ช่วยสรุปได้ไหมคับ

เอาแบบเข้าใจ

วัสสลาม / ดาฟิส



ไม่ตั้งใจอ่านแต่ต้นมากกว่ามั้ง?
  •  

L-umar



คำถามสำหรับซุนนี่



ท่านบอกว่า  ท่านหญิงอาอิชะฮ์  ไม่ได้ทำ


ถ้านางไม่ได้ทำ  แล้วนาง  ให้ชายอื่นเข้ามาบ้านนาง   ได้อย่างไร   ?   ตอบด้วย
  •  

sandee

L-umar อ้างอิงข้อความ:
อ้างถึง

คำถามสำหรับซุนนี่



ท่านบอกว่า  ท่านหญิงอาอิชะฮ์  ไม่ได้ทำ


ถ้านางไม่ได้ทำ  แล้วนาง  ให้ชายอื่นเข้ามาบ้านนาง   ได้อย่างไร   ?   ตอบด้วย



อืมม ไม่รู้สิ วัลลอฮูอลัม ก็ \\\"ชายอื่น\\\" ที่คุณว่าน่ะ เป็นแค่เด็กชาย الْغُلاَمُ ที่ไม่ปรากฏว่าบรรลุศาสนภาวะแล้วนี่?
อย่าบิดเบือนหะดีษ เพื่อจะหาทางตำหนิมารดาของผู้ศรัทธาสิครับ ผู้ศรัทธาเขาไม่ทำกันนะ?


เวลาคุณได้ยินเรื่องราวที่ไม่ดีๆ ของใครๆ ก็ตาม อัลลอฮฺสั่งคุณว่าไงครับ? เชื่อเลยเหรอ?



Thai: [24:12]เมื่อพวกเจ้าได้ยินข่าวเท็จนี้ ทำไมบรรดามุอฺมินและบรรดามุอฺมินะฮ์จึงไม่คิดเปรียบเทียบกับตัวของพวกเขาเองในทางที่ดีและกล่าวว่า นี่เป็นเรื่องโกหกอย่างชัดแจ้ง

ได้ยินอะไรมาจากหนังสือชีอะห์ก็น่าจะเช็คซะก่อนนะ และคิดในแง่ดีกับผู้อื่นไว้ก่อนด้วย ผู้ศรัทธาเขาทำกันแบบนี้
  •  

L-umar



ลองอ่าน ตัวบทหะดีษอีกทีนะ


فَأَخَذَتْ بِذَلِكَ عَائِشَةُ أُمُّ الْمُؤْمِنِينَ، فِيمَنْ كَانَتْ تُحِبُّ أَنْ يَدْخُلَ عَلَيْهَا مِنَ الرِّجَالِ


ริญาล  มาจาก ร่อญุลุน    คนผู้ชาย  


ไม่ทราบที่บ้านท่าน  เขาแปล คำ  رجال   นี้ว่า  เด็กที่ยังไม่บาเล็ฆ  หรือ ?


อัลกุรอ่านกล่าวว่า


الرِّجَالُ قَوَّامُونَ عَلَى النِّسَاءِ

وَالْمُسْتَضْعَفِينَ مِنَ الرِّجَالِ وَالنِّسَاءِ وَالْوِلْدَانِ

إِنَّكُمْ لَتَأْتُونَ الرِّجَالَ شَهْوَةً مِنْ دُونِ النِّسَاءِ بَلْ أَنْتُمْ قَوْمٌ مُسْرِفُونَ

أَوْ مَا مَلَكَتْ أَيْمَانُهُنَّ أَوِ التَّابِعِينَ غَيْرِ أُولِي الْإِرْبَةِ مِنَ الرِّجَالِ أَوِ الطِّفْلِ الَّذِينَ لَمْ يَظْهَرُوا عَلَى عَوْرَاتِ النِّسَاءِ


ก็เข้าใจนะ  ความตะอัซซุบ มันคงพาไปให้แปลเช่นนั้น  
  •  

sandee

L-umar อ้างอิงข้อความ:
อ้างถึง

ลองอ่าน ตัวบทหะดีษอีกทีนะ


فَأَخَذَتْ بِذَلِكَ عَائِشَةُ أُمُّ الْمُؤْمِنِينَ، فِيمَنْ كَانَتْ تُحِبُّ أَنْ يَدْخُلَ عَلَيْهَا مِنَ الرِّجَالِ


ริญาล  มาจาก ร่อญุลุน    คนผู้ชาย  


ไม่ทราบที่บ้านท่าน  เขาแปล คำ  رجال   นี้ว่า  เด็กที่ยังไม่บาเล็ฆ  หรือ ?


อัลกุรอ่านกล่าวว่า


الرِّجَالُ قَوَّامُونَ عَلَى النِّسَاءِ

وَالْمُسْتَضْعَفِينَ مِنَ الرِّجَالِ وَالنِّسَاءِ وَالْوِلْدَانِ

إِنَّكُمْ لَتَأْتُونَ الرِّجَالَ شَهْوَةً مِنْ دُونِ النِّسَاءِ بَلْ أَنْتُمْ قَوْمٌ مُسْرِفُونَ

أَوْ مَا مَلَكَتْ أَيْمَانُهُنَّ أَوِ التَّابِعِينَ غَيْرِ أُولِي الْإِرْبَةِ مِنَ الرِّجَالِ أَوِ الطِّفْلِ الَّذِينَ لَمْ يَظْهَرُوا عَلَى عَوْرَاتِ النِّسَاءِ


ก็เข้าใจนะ  ความตะอัซซุบ มันคงพาไปให้แปลเช่นนั้น  



อะไร? คุณพูดถึงบทไหน? หะดีษน่ะ ผมก็บอกไปแล้วว่าเบื้องต้น ว่าเช็คไปกี่หะดีษ
ก็มาคุยกันหะดีษที่เช็คแล้วสิ หะดีษอื่น ผมยังไม่ได้เช็ค ก็ไม่รู้ว่าคุณแปลแบบบิดเบือนรึเปล่า

ส่วนอัลกุรอ่านน่ะ อ้างโองการไหนมา ระบุด้วยดิ จะได้ตามไปเช็คได้ ไม่ใช่อ้างลอยๆ ไม่บอกที่มา ไร้มารยาทวิชาการจัง
  •  

L-umar



เอ้า  โทษทีนึกว่า  เป็นฮาฟิซ    เห็นจำเรื่องหะดีษได้เพียบ  แต่กุรอ่านกลับจำไม่ค่อยได้  เราอุตส่าห์ให้เครดิตสูง  ทีแท้ก็มือสมัครเล่นเหมือนกันกับเรา



ว่างไปโลด โปรแกรมหาอายัต แบบออโต้บ้างนะ ที่เวปมัฆโรวี  นะ  เล่นเน็ตยังไวเชยจัง
  •  

sandee

L-umar อ้างอิงข้อความ:
อ้างถึง

เอ้า  โทษทีนึกว่า  เป็นฮาฟิซ    เห็นจำเรื่องหะดีษได้เพียบ  แต่กุรอ่านกลับจำไม่ค่อยได้  เราอุตส่าห์ให้เครดิตสูง  ทีแท้ก็มือสมัครเล่นเหมือนกันกับเรา



ว่างไปโลด โปรแกรมหาอายัต แบบออโต้บ้างนะ ที่เวปมัฆโรวี  นะ  เล่นเน็ตยังไวเชยจัง



อ้าว ตัวผมก็มือสมัครเล่นแหละครับ ไม่กล้าอวดอ้างว่าเก่งกาจหรอก กลัวตะกับโบ้ร

ตัวเองเล่นไร้มารยาททางวิชาการ ไม่อ้างที่มาที่ไป แล้วยังจะตำหนิเขาอีกเนาะ? เป็นได้ถึงขนาดนี้คนเรา เฮ้อ
  •  

L-umar



แค่ไม่กี่อายัต  ยังหาไม่ได้  แล้วยังจะเที่ยวยกอายัตกุรอ่านไปถามชาวบ้าน    น่าเอ็นดูจัง
  •  

65 ผู้มาเยือน, 0 ผู้ใช้